วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

ฟังก์ชัน

ฟังก์ชัน

บทความนี้จะอธิบายเกี่ยวกับไวยากรณ์ของสูตรและการใช้ฟังก์ชัน DSTDEVP ใน Microsoft Excel
คำอธิบาย
คำนวณค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากรจากประชากรทั้งหมด โดยใช้ตัวเลขต่างๆ ในเขตข้อมูล (คอลัมน์) ของระเบียนในรายการหรือฐานข้อมูลที่ตรงกับเงื่อนไขที่คุณระบุ
ไวยากรณ์
DSTDEVP(database, field, criteria)
ไวยากรณ์ของฟังก์ชัน DSTDEVP มีอาร์กิวเมนต์ดั อ่านเพิ่มเติม

โดเมนและเรนจ์

โดเมนและเรนจ์
เซตสมาชิกตัวหน้าของความสัมพันธ์  r 1  คือ  {1,2,3,4}  เรียกเซตนี้ว่า   โดเมนของ r1
เซตสมาชิกตัวหลังของความสัมพันธ์  r 1  คือ  {2,3,4,5}  เรียกเซตนี้ว่า   เรนจ์ของ r1
ส่วน  r2 มีโดเมนและเรนจ์เท่ากับจำนวนเต็มบวก
บทนิยาม    ให้  r  เป็นความสัมพันธ์จาก  A ไป B
โดเมนของ  r  คือเซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับใน r  เขียนแทนด้วย  Dr
เรนจ์ของ  r   คือเซตของสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับใน r   เขียนแทนด้ว อ่านเพิ่มเติม

ความสัมพันธ์

ความสัมพันธ์

คู่อันดับ คือ สัญลักษณ์ที่แสดงการจับคู่กันระหว่างสิ่ง 2 สิ่ง เช่น ระยะทางกับเวลา ถ้าเราจะแสดงการจับคู่ระยะทาง (กิโลเมตร) กับเวลา (ชั่วโมง) เราจะเขียนระยะทางกับเวลาลงในวงเล็บเล็ก และคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค เช่น (200, 4) จะหมายถึงระยะทาง 200 กิโลเมตร ต้องใช้เวลา 4 ชั่วโมง เป็นต้น
คู่อันดับ ประกอบด้วยสมาชิก 2 ตัว คือ สมาชิกตัวหน้า และสมาชิกตัวหลัง หรือสมาชิกตัวที่หนึ่งและสมาชิกตัวที่ส

บทที่ 4 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 คู่อันดับ (Order Pair) เป็นการจับคู่สิ่งของโดยถือลำดับเป็นสำคัญ เช่น คู่อันดับ a, b จะเขียนแทนด้วย (a, b) เรียก a ว่าเป็นสมาชิกตัวหน้า และเรียก b ว่าเป็นสมาชิกตัวหลัง
(การเท่ากับของคู่อันดับ) (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
ผลคูณคาร์ทีเชียน (Cartesian Product) ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และเซต B คือ เซตของคู่อันดับ (a, b) ทั้งหมด โดยที่ a เป็นสมาชิกของเซต A และ b เป็นสมาชิกของเซต B
สัญลักษณ์      ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A อ่านเพิ่มเติม

สมบัติของจำนวนจริง ไปใช้ การแก้สมการกำลังสอง

สมบัติของจำนวนจริง ไปใช้ การแก้สมการกำลังสอง

2. ใช้สมบัติของรากที่สอง
จงหาคำตอบของสมการ x2+8x+16=4x2+8x+16=4
จะเห็นว่า x2+8x+16x2+8x+16 เป็นกำลังสองสมบูรณ์คือ
x2+8x+16==x2+2(x)(4)+42(x+4)2x2+8x+16=x2+2(x)(4)+42=(x+4)2
ดังนั้น สมการจึงเป็น 
(x+4)2=4(x+4)2=4
ถอดรากที่สองทั้งสองข้าง
x+4x==2,−2−2,−6x+4=2,−2x=−2,−6

สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ

สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ มีดังนี้
1. สมบัติปิด
2. สมบัติการสลับที่
3. สมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม
4. สมบัติการมีเอกลักษณ์
5. สมบัติการมีอินเวอร์ส
6. สมบัติการแจกแจง
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวก

บทที่ 3 จำนวนจริง

จำนวนจริง
ซตของจำนวนจริงประกอบด้วยสับเซตที่สำคัญ  ได้แก่
เซตของจำนวนนับ/ เซตของจำนวนเต็มบวก เขียนแทนด้วย  I
                   I = {1,2,3…}
เซตของจำนวนเต็มลบ  เขียนแทนด้วย  I
เซตของจำนวนเต็ม เขียนแทนด้วย I
                   I = { …,-3,-2,-1,0,1,2,3…}
เซตของจำนวนตรรกยะ : เซตของจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศ อ่านเพิ่มเติม

การให้เหตุผลแบบนิรนัย

การให้เหตุผลแบบนิรนัย
การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นความจริงเพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป เป็นการอ้างเหตุผลที่มีข้อสรุปตามเนื้อหาสาระที่อยู่ภายในขอบเขตของข้ออ้างที่กำหนดจากตัวอย่างจะเห็นว่าการยอมรับความรู้พื้นฐานหรือความจริงบางอย่างก่อน แล้วหาสิ่งข้อสรุปจากสิ่งที่ยอมรับแล้วนั้น จะเรียกว่าผล การสรุปผลจะถูกต้องก็ต่อเมื่อเป็นการสรุปได้อย่างสมเหตุส อ่านเพิ่มเติม


การให้เหตุผลแบบอุปนัย

การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) เกิดจากการที่มีสมมติฐานกรณีเฉพาะ หรือเหตุย่อยหลายๆ เหตุ เหตุย่อยแต่ละเหตุเป็นอิสระจากกัน มีความสำคัญเท่าๆ กัน และเหตุทั้งหลายเหล่านี้ไม่มีเหตุใดเหตุหนึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นสมมติฐานกรณีทั่วไป หรือกล่าวได้ว่า การให้เหตุผลแบบอุปนัยคือการนำเหตุย่อยๆ แต่ละเหตุมารวมกัน เพื่อนำไปสู่ผลสรุปเป็นกรณีทั่วไป เช่นตัวอย่างการให้เหตุผลแบบอุ อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 2 การให้เหตุผล

การให้เหตุผล

การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นวิธีการให้เหตุผลโดยสรุปผลจากข้อความซึ่งเป็นความจริงทั่วไปมาเป็นข้ออ้างเพื่อสนับสนุนให้เกิดข้อสรุปที่เป็นความรู้ใหม่ที่เป็นข้อสรุปส่วนย่อยข้อสรุปที่ได้จากการให้เหตุผล
แบบนิรนัยนั้นจะเป็นข้อสรุปที่อยู่ในขอบเขตของเหตุเท่านั้นจะเป็นข้อสรุปที่กว้างหรือเกินกว่าเหตุไม่ได้การให้เหตุผลแบบนิรนัยประกอบด้วยข้อความ2กลุ่มโดยข้อความกลุ่มแรกเป็นข้อความที่เป็นเหตุ เหตุอาจมี
หลาย ๆเหตุ หลาย ๆข้อค อ่านเพิ่มเติม


ยูเนี่ยน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต

ยูเนี่ยน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต

เนียน (Union) มีนิยามว่า เซต A ยูเนียนกับเซต B คือเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A หรือ เซต B หรือทั้ง A และ B สามารถเขียนแทนได้ด้วย สัญลักษณ์ A ∪ B
ตัวอย่างเช่น
A ={1,2,3}
B= {3,4,5}
∴ A ∪ B = {1,2,3,4,5}
เราสามารถเขียนการยูเนี่ยนลงในแผนภ อ่านเพิ่มเติม

สับเซตและเพาเวอร์เซต

สับเซตและเพาเวอร์เซต

ถ้าสมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B แล้ว จะเรียกว่า A เป็นสับเซตของ B จะเขียนว่า
เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A B

ถ้าสมาชิกบางตัวของ A ไม่เป็นสมาชิกของ B จะเรียกว่า A ไม่เป็นสับเซตของ B
เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B แทนด้ว อ่านเพิ่มเติม


  

เอกภพสัมพัทธ์

เอกภพสัมพัทธ์

 เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมดของสิ่งที่เราต้องการจะศึกษา สามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ u
           เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) ในการพูดถึงเรื่องใดก็ตามในแง่ของเซต  เรามักมีขอบข่ายในการพิจารณาสมาชิกของเซตที่จะกล่าวถึง  โดยมีข้อตกลงว่าเราจะไม่กล่าวถึงสิ่งใดนอกเหนือไปจากสมาชิก ของเซตที่กำหนดขึ้น เช่น ถ้าเรากำหนดเซตของสมาชิกทุกคนในครอบครัวของผู้เรียนเองให้เป็นเซ อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 1 เซต

บทที่ 1 เซต

 เป็นคำที่ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม สิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม เช่น
       เซตสระในภาษาอังกฤษ  หมายถึง  กลุ่มของอังกฤษ  a, e, i, o และ u
       เซตของจำนวนนับที่น้อยกว่า 10 หมายถึง  กลุ่มตัวเลข 1,2,3,4,5,6,7,8,และ9
        สิ่งที่ในเชตเรียกว่า  สมาชิ อ่านเพิ่มเติม

ฟังก์ชัน

ฟังก์ชัน บทความนี้จะอธิบายเกี่ยวกับไวยากรณ์ของสูตรและการใช้ฟังก์ชัน  DSTDEVP  ใน Microsoft Excel คำอธิบาย คำนวณค่าเบี่ยงเบนมาตรฐา...